您现在的位置是:DailyThai > ครอบคลุม
【ลิเวอร์พูล vs เซาแธมป์ตัน】ออกข้อบัญญัติใหม่ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ฯ | เดลินิวส์
DailyThai2024-11-19 18:35:47【ครอบคลุม】6人已围观
简介ซึ่งตั้งแต่ช่วงปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ในการประชุมวิสามัญพิจารณาร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ที่มีสม ลิเวอร์พูล vs เซาแธมป์ตัน
ซึ่งตั้งแต่ช่วงปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ในการประชุมวิสามัญพิจารณาร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ที่มีสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คณะผู้บริหารและหัวหน้าส่วนราชการกรุงเทพมหานคร ร่วมประชุม ณ ห้องประชุมสภากรุงเทพมหานคร อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร นายนภาพล จีระกุล สก.เขตบางกอกน้อย ในฐานะประธานกรรมการวิสามัญพิจารณาร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. ได้รายงานผลการพิจารณาร่างข้อบัญญัติฯ ของคณะกรรมการวิสามัญฯ โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้ประกาศใช้เป็นข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร
ออกข้อบัญญัติใหม่ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ฯเดลินิวส์โดยได้มีการประชุมร่วมกันใช้เวลารวมทั้งสิ้น 20 ครั้ง ประกอบกับได้รับฟังความคิดเห็นของประชาชนแอปพลิเคชัน Google Forms รวมทั้งรับฟังความคิดเห็นเป็นหนังสือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมควบคุมโรค สำนักงานปศุสัตว์พื้นที่ กรุงเทพมหานคร สัตวแพทยสภา คณะสัตวแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่ง และสมาคม-มูลนิธิต่าง ๆ หลังรับฟังความคิดเห็นจากองค์กรด้านสัตว์ต่าง ๆ สรุปว่าสมควรกำหนดมาตรการควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ โดยมีมติเห็นชอบร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องดังกล่าว โดยมีผลบังคับใช้วันถัดไปหลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา 360 วัน หวังควบคุมการเลี้ยงสัตว์ ลดปัญหาสัตว์จรจัด สร้างความปลอดภัย และลดปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากสัตว์เลี้ยง หลักการสำคัญของร่างข้อบัญญัตินี้ คือกำหนดขนาดพื้นที่ขั้นต่ำสำหรับการเลี้ยงสัตว์ในแต่ละประเภท เพื่อลดปัญหามลพิษ เช่น กลิ่นไม่พึงประสงค์และเสียงรบกวน ยกตัวอย่างเจ้าของอยู่ห้องเช่าแต่เลี้ยงแมว มากกว่า 50 ตัว สิ่งที่ตามมาย่อมต้องเป็นกลิ่นไม่พึงประสงค์ นอกจากนี้ยังระบุให้สุนัขและแมวทุกตัวต้องได้รับการฝังไมโครชิปเพื่อเป็นการบันทึกข้อมูล และระบุเจ้าของสัตว์เลี้ยงอย่างชัดเจน
ออกข้อบัญญัติใหม่ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ฯเดลินิวส์มาตรการนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อลดการทอดทิ้งสัตว์เลี้ยง ซึ่งอาจกลายเป็นปัญหาสัตว์จรจัดในอนาคต หากสัตว์เลี้ยงใดก่อให้เกิดปัญหาหรือรบกวนผู้อื่น เจ้าหน้าที่สามารถติดตามและตักเตือนหรือดำเนินการตามกฎหมายได้ ในส่วนของสัตว์ดุร้ายที่อาจเป็นภัยต่อสาธารณชน หน่วยงานกรุงเทพมหานคร จะดำเนินการย้ายสัตว์ไปยังศูนย์ควบคุมและพักพิงสุนัขกรุงเทพมหานคร ที่ตั้งอยู่ในเขตประเวศ และสำหรับการจัดการกับสัตว์จรจัด กรุงเทพมหานครยังมีหน่วยสัตวแพทย์เคลื่อนที่ให้บริการทำหมันสัตว์ในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อลดจำนวนสัตว์จรจัดในชุมชน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 29 แห่ง พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดย พ.ร.บ.การสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 ประกอบกับมาตรา 97 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 จึงจำเป็นต้องตราข้อบัญญัติกรุงเทพมหามหานครนี้ สาระสำคัญของร่างข้อบัญญัตินี้ ประกอบด้วย การเลี้ยงสัตว์ ห้ามมิให้ผู้ใด เลี้ยงสุนัขและแมวในที่หรือทางสาธารณะหรือในที่ของบุคคลอื่นโดยปราศจากความยินยอม การปล่อยสัตว์ สถานที่เลี้ยงสัตว์ การควบคุมการเลี้ยงสุนัขและแมว โดยให้กทม.เป็นเขตห้ามเลี้ยงสุนัขและแมว เกินจำนวนที่กำหนด พื้นที่อาคารชุดหรือห้องเช่า ตั้งแต่ 20-80 ตารางเมตรขึ้นไป เลี้ยงได้ไม่เกิน 1 ตัว หากเกิน เลี้ยงได้ไม่เกิน 2 ตัว เนื้อที่ดินไม่เกิน 20 ตารางวา เลี้ยงได้ไม่เกิน 2 ตัว เนื้อที่ดิน 20-50 ตารางวา เลี้ยงได้ไม่เกิน 3 ตัว เนื้อที่ดิน 50-100 ตารางวา เลี้ยงได้ไม่เกิน 4 ตัว เนื้อที่ดิน 100 ตารางวาขึ้นไป เลี้ยงได้ไม่เกิน 6 ตัว กำหนดสุนัขควบคุมพิเศษ ได้แก่ พิตบูลเทอเรีย, บูลเทอเรีย, สเตฟอร์ดเชอร์ บูลเทอเรีย, ร็อตไวเลอร์ และ ฟิล่า บราซิเลียโร รวมถึงสุนัขที่มีประวัติทำร้ายคนหรือพยายามทำร้ายคน เมื่อออกนอกสถานที่เลี้ยงต้องใส่อุปกรณ์ครอบปาก ใช้สายจูงที่มั่นคงแข็งแรง และจับสายจูงห่างจากคอสุนัขไม่เกิน 50 เซนติเมตรตลอดเวลา เจ้าของต้องนำสัตว์เลี้ยงไปทำเครื่องหมายระบุตัวอย่างถาวรจากสัตวแพทย์
ออกข้อบัญญัติใหม่ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ฯเดลินิวส์โดยการฝังไมโครชิปตามมาตรฐานที่ กทม. กำหนด พร้อมนำใบรับรองไปแจ้งเจ้าหน้าที่ ณ สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุขสำนักอนามัยหรือสำนักงาน ผู้ใดฝ่าฝืนข้อบัญญัติดังกล่าวจะมีโทษ หลังจากข้อบัญญัติฉบับนี้ประกาศใช้ ผู้เลี้ยงสัตว์จะต้องจดแจ้งจำนวนสัตว์เลี้ยง และกำหนดให้มีระยะเวลาผ่อนผัน 360 วัน เพื่อให้ผู้เลี้ยงสัตว์มีเวลาปรับตัว ก่อนเริ่มบังคับใช้บทลงโทษตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หากมีการฝ่าฝืน ทั้งนี้ในกรณีของผู้ที่ต้องการเลี้ยงสัตว์เพื่อการผสมพันธุ์หรือประกอบธุรกิจ ก็สามารถยื่นขออนุญาตเพิ่มเติมได้ตามกฎหมาย ตอนนี้เมื่อสำรวจสุนัขและแมวในชุมชนพื้นที่กรุงเทพฯ ในปี 2567 มีสุนัขและแมว จำนวนทั้งสิ้น 198,688 ตัว สุนัขที่มีเจ้าของ 53,991 ตัว จรจัด 8,945 ตัว รวม 62,936 ตัว ส่วนแมวที่มีเจ้าของ 115,821 ตัว จรจัด 19,925 ตัว รวม 135,752 ตัว จากนี้ ฝ่ายเลขานุการสภากทม.จะเสนอร่างดังกล่าวให้ผู้ว่าฯ กทม. ลงนามประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไป โดยจะมีผลบังคับใช้วันถัดไปหลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา 360 วัน.
ออกข้อบัญญัติใหม่ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ฯเดลินิวส์คลิกอ่านบทความทั้งหมดได้ที่นี่
ออกข้อบัญญัติใหม่ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ฯเดลินิวส์很赞哦!(3)
相关文章
- “นาโต” เปิดฉากการซ้อมยิงปืนใหญ่ “ครั้งใหญ่ที่สุด” ในฟินแลนด์ | เดลินิวส์
- ‘มนพร’ รับฟังทุกความเห็นพร้อมปรับโครงสร้างบริหารคมนาคม | เดลินิวส์
- "Jeanius"เขียนเพลงจากประสบการณ์จริง พร้อมส่ง"คนไม่รักยังไงก็ไม่รัก"เอาใจแฟนๆ | เดลินิวส์
- ทรพีขู่ฆ่าแม่ตัวเอง-ทำร้ายลูกชายหวังปล้ำลูกสาวแท้ๆ | เดลินิวส์
- ‘กวาง กมลชนก’ เศร้าใจสิ้นแล้ว ’คุณยายบรรเจิดศรี‘ อาลัยรักผ่านข้อความสุดซึ้ง! | เดลินิวส์
- อุตุฯ ประกาศฉบับ 7 อากาศแปรปรวน ฝนตกหนัก อุณหภูมิจะลดลง 1–3 องศาฯ | เดลินิวส์
- เปิดประวัติ'พระพาย รมิดา'ว่าที่เจ้าสาว'หนุน 'ลูก 'เนวิน'สวย เก่ง โปรไฟล์ไม่ธรรมดา | เดลินิวส์
- "กบ พิมลรัตน์" สุดช้ำสามีบอกเลิกรายเดือนแบบไม่มีสาเหตุ แถมโดนไล่เตลิดออกจากบ้าน! | เดลินิวส์
- กาแฟไม่ต้อง"ตุลย์ ณัฐนันท์"ปลุกความแซ่บให้โลกรู้ นุ่งบิกินีตัวจิ๋วสาดเซ็กซี่แบบซู่ซ่า! | เดลินิวส์
- เปิดคัมภีร์มหาโชค!เลขทะเบียนรถนายกฯ “อิ๊งค์”มาแรง ตามติดเลขเด็ดกูรูใบ้หวยห้ามพลาด | เดลินิวส์
热门文章
站长推荐
'นก จริยา' ฟาดเดือดถึงคนโลภ ไม่มีจรรยาบรรณ ลั่นเห็นแต่ขยะเต็มไปหมด! | เดลินิวส์
ตรวจเครดิตบูโรออนไลน์ใหม่ล่าสุด! ผ่านโมบายแอป ธ.ก.ส. “BAAC Mobile” | เดลินิวส์
‘บิ๊กปู’เซ็นคำสั่งแบ่งงาน ‘ผช.ผบ.ทบ.-เสธ.ทบ.’ | เดลินิวส์
รัฐ-เอกชน-ประชาสังคม ชู 4 ข้อเสนอ เร่งเปลี่ยนไทยสู่สังคมคาร์บอนต่ำ บนเวที ‘ESG Symposium 2024’ | เดลินิวส์
คลื่นใต้น้ำอุทยานฯ | เดลินิวส์
ลือสนั่นพระเอกตัวท็อปส่อแววเลิก เหตุนอกใจภรรยานักร้องดังยุค90 | เดลินิวส์
เช็กดวงประจำวันที่ 2 ต.ค. 67 ราศีที่ดาวศรีสถิต "มีน" ราศีที่ดาวกาลีสถิต "มิถุน" | เดลินิวส์
ทำผิดบิดเบี้ยว! "นก จริยา" ตัดพ้อเจ้าหน้าที่รัฐซ้ำเติมหากินบนความเดือดร้อนคนอื่น | เดลินิวส์